วันพฤหัสบดีที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

Book review #19 : ReWork





Book Review #19 ReWork
The book written by Jason Fried and David Heinemeier Hansson, not a very attractive book to my standard on the first glance but after I flip through couple pages I said to myself  , these guys are creatively crazy I wish I manage my company like them 
The people who wrote the book founded some king of an operating software I don’t know much about but I’m guessing it’s something similar to a simplify version of SAP. Since tech savvy and me are on the opposite side of the universe, I’m not gonna go though the detail of what they sale but what I want to talk about is their working philosophy which is the core of this book 
The other very good thing is that these guys manage a small company (I think they have like 15 people) which in terms serves what most people need at this moment. Most of us didn’t manage avery big company, some of us still having trouble manage ourselves not to mention a company. Therefore, when reading Jack Welch on how he turn GE up side down and re-organize everything, sometimes we found ourselves thinking “well you know, the method is awesome but in terms of application to my company is close irrelevant.” 
Bottom line is , big company doesn’t manage like small company 
The philosophy behind managing these things are vastly different 
People
Motivation
Resources
etc
This book is for adventurous manager who denied status quo and pack with extreme hunger for success while ready for any craziness that might pop around the corner. 
I’m not gonna spoil any of the book’s detail becuase it will be better for your to read and absorb it by yourself but I can tell that if you manage a small company or even manage a group of small people like your own team of some sought, this book is not to miss.
After I read it, I bought another 4 copies for directors which hopefully they find it as interesting as I do. I also put this in the bookshelf that’s closet to me becuase someday soon I will want to read it again 
The book remind me of one quote from the great Steve Jobs
“Stay Hungry, Stay Foolish” 
This is 9.5/10 book, what are you waiting for!!
Cheers 
Tab

วันพุธที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

simplifying everything


simplifying everything
เขียนไว้เมื่อวันที่ 18-7-12 วันที่พึ่งฟื้นจากทอนซิลอักเสบวันแรก
(เหตุผลที่เขียนวันที่ไว้เพราะว่าอยากรู้ว่าเมื่อเวลาผ่านไปนานๆความคิดเราจะเปลี่ยนไปแค่ไหน) 
เมื่อซักเดือนกว่าๆที่แล้ว จู่ๆก็รู้สึกว่า business model ที่ทำอยู่ปัจจุบันนี้มันมีความซับซ้อนเกินความจำเป็นไปอย่างมาก  และเมื่อคิดไปถึงสาเหตุก็พบว่าจริงแล้วเกิดจากตัวผมเองนี่แหละที่พยายามวางกลยุุทธ์ซับซ้อนหลายขั้นหลายตอนไปจนตอนหลังมันพันกันยุ่งไปหมด แล้วเวลาทำงานจริงก็งานเยอะจนจับต้นชนปลายไม่ถูก บริษัทเริ่มเต็มไปด้วยแผนงานที่ปฏิบัติได้แบบลูบหน้าปะจมูก มี protocol เยอะแยะยวบยับเต็มไปหมด สรุปแล้วงานที่วางแผนไว้บนกระดาษอย่างสวยหรูเอาเข้าจริงๆทำได้ไม่เต็มที่ซักอย่าง หรือที่แย่ๆกว่านั้นคือทำไม่เสร็จซักอย่าง
ผมขอเรียกความสิ้นเปลืองเหล่านั้นว่า “งานปลอม”
หมายความว่ามีงานปลอมๆหรืองานที่สร้างขึ้นมาโดยไม่มีความจำเป็นแทรกอยู่มากเกินไป งานปลอมๆนั้นก็กินเวลาบริษัทไปมากมายสูยเสียทรัพยากรทางตรงและอ้อมไปมหาศาล
ผู้บริหารหลายคนรวมถึงผมด้วยเวลาทำงานไปๆมักจะมีแนวโน้มที่พยายามจะ over complicate ทุกสิ่งอย่างไว้ก่อน อาจจะคล้ายเกราะปัองกันตัวเราด้วยรึเปล่าไม่แน่ใจ เพราะถ้าทำอะไรง่ายๆเบสิคๆ เดี๋ยวลูกน้องอาจจะหาว่าเราโง่รึเปล่า
หลายครั้งเราพยายามทำอะไรยากๆให้เราดูฉลาดรึเปล่า หรือเราพยายามทำงานหนักกลับบ้านดึกเพื่อให้คนอื่นมองว่าเราขยัน พยายาม และ “พิเศษ” กว่าคนอื่นรึเปล่า
แต่ความจริงแล้วการจะทำอะไรให้ง่ายๆนั้นบางทีต้องอาศัยความสามารถและพลังสมองกว่าการทำอะไรยากๆอีก (อ่านแล้วงงๆ แต่ท่านที่เป็นผู้บริหารองค์กรจะเข้าใจดีว่าผมหมายถึงอะไร) 
คิดได้เช่นนี้ผมก็เลยวางแผนใหม่ แผนใหม่ที่ว่าง่ายๆไม่ซับซ้อน ถือคติข้อเดียว
“ลดปริมาณ เพิ่มประสิทธิภาพ”
ของทุกอย่าง:  คน สินค้า การประชุม etc
แต่เวลาลงมือปฏิบัติจริงมันไม่ได้ง่ายๆแบบหรอกครับ เราต้องมีการหา parameter ที่จะใช้วัดว่าเราจะเอาระดับความ”ง่าย” ถึงแค่ไหน
ไหนๆเราก็จะ simplify ทุกอย่างแล้วตัว parameter ก็ไม่ต้องเอาอะไรซับซ้อน ทุกอย่างลด 50% เลยง่ายดี 
ผม list รายการทั้งหมดที่เราต้องการจะทำแล้วเอา เรียงลำดับความสำคัญ แล้วตัดออกครึ่งนึงแล้วค่อยเริ่มวางแผนครับ เนื่องจากหัวข้องานน้อยลงเราจะสามารถทำงานที่เราเลือกได้อย่างละเอียดมากขึ้น



การตัดงานบางทีคล้ายกันตัดใจ


เจ็บแต่จบ



ได้ผลยังไงจะมาเล่าให้ฟังอีกทีนะครับ แต่แค่คิดแผนจบก็สบายใจไป 50% แล้วครับ